กฎหมายคอมพิวเตอร์ (160)

กระบวนยุติธรรม (1865)

การเงินการคลัง (504)

การต่างประเทศ (550)

การทหาร (159)

การท่องเที่ยวและกีฬา (104)

การเมือง (1414)

การปกครอง (1628)

การปกครองส่วนท้องถิ่น (144)

การศึกษา (313)

เกษตรและสหกรณ์ (113)

เกาะติด กสทช. (118)

เกาะติดรัฐธรรมนูญใหม่ (76)

เกาะติดกฎหมายดิจิทัล (66)

คดีที่น่าสนใจ (1120)

คมนาคม (233)

ครอบครัวและเยาวชน (208)

งานวิจัยกฎหมาย (434)

ทรัพย์สินทางปัญญา (207)

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (268)

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (396)

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) (115)

ผู้บริโภค (314)

พลังงาน (65)

พัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์ (767)

พาณิชย์ (581)

ตำรวจ (198)

ภาษี-บัญชี (484)

แรงงาน (374)

วัฒนธรรม (60)

วิชาชีพกฎหมาย (1146)

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (176)

สวัสดิการ (310)

สาธารณสุข (324)

สิทธิมนุษยชน (861)

อุตสาหกรรม (332)

อสังหาริมทรัพย์ (122)

การยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม(ภ.พ.๓๐)พ้นเวลาที่กฎหมายกำหนด

เรื่อง ฟ้องขอให้เพิกถอนการประเมินภาษีมูลค่าเพิ่มและคำวินิจฉัยอุทธรณ์ของคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ กับขอให้งดหรือลดเบี้ยปรับและเงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม

ข้อมูลเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2559

การเรียกร้องค่าสินไหมทดแทนในคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา

ในคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญา ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาให้อำนาจผู้เสียหายที่จะยื่นคำร้องขอต่อศาล ขอให้บังคับจำเลยชดใช้ค่าสินไหมทดแทนแก่ตนได้ แต่ในการยื่นต่อศาลนั้นอาจมีประประเด็นเรื่องของอำนาจผู้พิพากษาซึ่งมีคำพิพากษาฎีกาที่ ๑๔๙๑๕/๒๕๕๗ วินิจฉัยไว้ดังนี้

ข้อมูลเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2559

การไม่อุทธรณ์การประเมินภาษีอากรต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ภายในระยะเวลาตามที่กฎหมายกำหนด

การไม่อุทธรณ์การประเมินภาษีอากรต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์ภายในระยะเวลาตามที่กฎหมายกำหนด แต่จะมีสิทธินำคดีฟ้องต่อศาลได้หรือไม่ และทายาทของลูกหนี้ค่าภาษีอากรต้องร่วมรับผิดในหนี้ภาษีอากรค้างของเจ้ามรดกหรือไม่ เพียงใด

ข้อมูลเมื่อ 4 มกราคม 2559

คำพิพากษาค่าโง่คดีคลองด่าน

หลังจากครม.มีมติจ่ายเงินค่าเสียหาย คดีบ่อบำบัดน้ำเสียคลองด่าน คดีนี้ เป็นคดีที่ อนุญาโตตุลาการ ศาลปกครองชั้นต้นและศาลปกครองสูงสุดมีคำพิพากษาตัดสินว่ารัฐบาลแพ้คดี ทำให้รัฐบาลถูกฟ้องชดใช้ค่าเสียหาย ทีมงานกฎหมายจึงขอนำคำพิพากษามาเผยแพร่อีกครั้งหนึ่ง

ข้อมูลเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2558

บริษัทจดทะเบียนเสร็จการชำระบัญชีต้องรับผิดในหนี้ภาษีอากรประเมิน ผู้ชำระบัญชีต้องร่วมรับผิดในหนี้ภาษีอากรนั้นด้วยหรือไม่

จำเลยที่ ๑ นำเข้าสินค้าปลาป่นโดยสำแดงและชำระอากรขาเข้าอัตราร้อยละ ๖ พนักงานเจ้าหน้าที่ของโจทก์ตรวจสอบพบว่า สินค้าที่จำเลยที่ ๑ นำเข้าเป็นอาหารสัตว์ประเภทวัตถุดิบชนิดปลาป่น ต้องเสียอากรขาเข้าอัตราร้อยละ ๑๐ และอยู่ในบังคับเรียกเก็บอากรพิเศษร้อยละ ๕๐ ของค่าอากร จำเลยที่ ๑ สำแดงและเสียอากรในอัตราร้อยละ ๖ จึงไม่ถูกต้อง โจทก์จึงมีแบบแจ้งการประเมิน

ข้อมูลเมื่อ 19 พฤศจิกายน 2558