กฎหมายคอมพิวเตอร์ (160)

กระบวนยุติธรรม (1865)

การเงินการคลัง (504)

การต่างประเทศ (550)

การทหาร (159)

การท่องเที่ยวและกีฬา (104)

การเมือง (1414)

การปกครอง (1628)

การปกครองส่วนท้องถิ่น (144)

การศึกษา (313)

เกษตรและสหกรณ์ (113)

เกาะติด กสทช. (118)

เกาะติดรัฐธรรมนูญใหม่ (76)

เกาะติดกฎหมายดิจิทัล (66)

คดีที่น่าสนใจ (1120)

คมนาคม (233)

ครอบครัวและเยาวชน (208)

งานวิจัยกฎหมาย (434)

ทรัพย์สินทางปัญญา (207)

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (268)

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (396)

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) (115)

ผู้บริโภค (314)

พลังงาน (65)

พัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์ (767)

พาณิชย์ (581)

ตำรวจ (198)

ภาษี-บัญชี (484)

แรงงาน (374)

วัฒนธรรม (60)

วิชาชีพกฎหมาย (1146)

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (176)

สวัสดิการ (310)

สาธารณสุข (324)

สิทธิมนุษยชน (861)

อุตสาหกรรม (332)

อสังหาริมทรัพย์ (122)

ศาลรัฐธรรมนูญ

คดีวินิจฉัยสถานะนายกฯ ยิ่งลักษณ์

คดีนี้มีการตีความที่น่าสนใจ เป็นการตีความตามความเป็นจริง แม้บุคคลที่เป็นคณะรัฐมนตรีในชุดมีมติย้ายคุณถวิล เปลี่ยนศรี และมามีหน้าที่รักษาการณ์ใน ครม.ชุดนี้ก็ต้องพ้นหน้าที่ไปด้วย ซึ่งการพ้นหน้าที่เฉพาะตัว

ข้อมูลเมื่อ 19 พฤษภาคม 2557

เปิดคำร้องขอให้วินิจฉัยสถานภาพนายกฯ กรณีสั่งย้ายถวิล เปลี่ยนศรี

เปิดคำร้องของ นายไพบูลย์ นิติตะวัน ส.ว.และคณะรวม 28 คน ที่ยื่นต่อประธานวุฒิสภา เพื่อขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ความเป็นรัฐมนตรี ของ น.ส.ยิ่งลักษณ์ นายกฯ สิ้นสุดลงเฉพาะตัว หรือไม่

ข้อมูลเมื่อ 3 เมษายน 2557

เปิดคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญฉบับเต็ม คดี โมฆะเลือกตั้ง 2 ก.พ.

เปิดคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญฉบับเต็ม คดีโมฆะเลือกตั้ง 2 ก.พ. เรื่อง ผู้ตรวจการแผ่นดินเสนอเรื่องขอให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัยตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 245 (1)

ข้อมูลเมื่อ 28 มีนาคม 2557

เปิดคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ "ฉบับเต็ม" คดีแก้ไข รธน.ที่มาของ สว.

คดีนี้ ส.ว.และ ส.ส.ฝ่ายค้าน ใช้สิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญตามมาตรา 68 ยื่นขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า ร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญในเรื่องที่มาของ ส.ว.ที่ประธานสภาฯและพวกรวม 312 คนจัดทำ มีกระบวนการพิจารณาร่างและเนื้อหาของร่างฯขัดต่อรัฐธรรมนูญมาตรา 68 วรรคหนึ่ง หรือไม่ ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญ มีมติใน 2 ประเด็น

ข้อมูลเมื่อ 22 พฤศจิกายน 2556

ขอบเขตของสิทธิการชุมนุมตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ

ช่วงปี 2552 ที่ผ่านมาระหว่างการดำรงตำแหน่งของนายกรัฐมนตรี อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ เป็นช่วงที่มีสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองรุนแรงมากช่วงหนึ่ง โดยเฉพาะการแสดงออกด้านความคิดเห็นและการเคลื่อนไหวการชุมนุมของกลุ่มคนเสื้อแดง ที่มีความคิดและมุมมองคนละทางกับทางรัฐบาลในขณะนั้น

ข้อมูลเมื่อ 30 สิงหาคม 2556